วันที่30กันยายน2553
อาจารย์ได้ให้นักศึกษานำกล่องลังมา และให้คิดทีละคนว่ากล่องนี้สามารถเป็นอะไรได้บ้าง และอาจารย์ได้ให้ป้ายนิเทศ ฉันทำเกี่ยวกับเรื่องสัตว์ใต้ทะเล ส่งตรงวันที่อาจารย์กำหนดด้วย
เป็นแฟ้มสะสมงานในรายวิชา สื่อเพื่อการเรียนรู้สำหรับเด็กปฐมวัย
วันพฤหัสบดีที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2553
ครั้งที่ 12 09/23/2010
วันที่9กันยายน2553
อาจารย์ได้ให้ส่งแป้งโดว์และออกไปนำเสนอการเล่น และสรุปเรื่องของสื่อ และประโยชน์ของสื่อ และอาจารย์ยังแนะนำว่า สื่อเราควรทำจากวัสดุที่เหลือใช้ และสามารถนำมาใช้ได้หลายๆรอบ
อาจารย์ได้ให้ส่งแป้งโดว์และออกไปนำเสนอการเล่น และสรุปเรื่องของสื่อ และประโยชน์ของสื่อ และอาจารย์ยังแนะนำว่า สื่อเราควรทำจากวัสดุที่เหลือใช้ และสามารถนำมาใช้ได้หลายๆรอบ
ครั้งที่ 11 09/16/2010
ครั้งที่ 10 09/9/2010
วันที่9กันยายน 2553
อาจารย์ให้ส่งงาน pop up
และอาจารย์ก็ให้สอบ ข้อสอบหนูว่าก็พอทำได้นะคะ
อาจารย์ให้ส่งงาน pop up
และอาจารย์ก็ให้สอบ ข้อสอบหนูว่าก็พอทำได้นะคะ
ครั้งที่ 9 09/2/2010
วันที่2กันยายน 2553
อาจารย์ได้นัดเรียนพร้อมกันทั้ง2กลุ่ม ที่ใต้ตึกคณะและให้เราเอางานที่เสร็จแล้วที่เสร็จแล้วมาส่ง และใครที่ขาดงานอะไรก็ให้ลงชื่อไว้ และอาจารย์ก็ให้นำมาส่งในครั้งต่อไป พูดเรื่องงานเสร็จอาจารย์ก็ให้ขึ้นห้องไปเล่นเกมการศึกษาที่อาจารย์เตรียมไว้ให้
มีทั้งที่เคยเล่นและไม่เคยเล่น บางอย่างอาจเคยได้ยินมาบ้าง แต่บางอย่างพึ่งได้เล่น ได้รู้จักมันจริงๆ ทำให้เราได้เกิดความสนุกสนานและได้ความรู้มากมาย
อาจารย์ได้นัดเรียนพร้อมกันทั้ง2กลุ่ม ที่ใต้ตึกคณะและให้เราเอางานที่เสร็จแล้วที่เสร็จแล้วมาส่ง และใครที่ขาดงานอะไรก็ให้ลงชื่อไว้ และอาจารย์ก็ให้นำมาส่งในครั้งต่อไป พูดเรื่องงานเสร็จอาจารย์ก็ให้ขึ้นห้องไปเล่นเกมการศึกษาที่อาจารย์เตรียมไว้ให้
มีทั้งที่เคยเล่นและไม่เคยเล่น บางอย่างอาจเคยได้ยินมาบ้าง แต่บางอย่างพึ่งได้เล่น ได้รู้จักมันจริงๆ ทำให้เราได้เกิดความสนุกสนานและได้ความรู้มากมาย
ครั้งที่ 8 08/19/2010
อาจารย์ได้พูดเกี่บวกับเรื่องการไปอบรม และให้คนที่ไม่ได้มาในวันที่อบรมลงชื่อ พร้อมกับถามเหตุผล และอาจารย์ก็ได้ตรวจงาน และสั่งาน pop up
วันพุธที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
บันทึกครั้งที่7 7/29/2010
วันนี้ฝนตกเพื่อนๆค่อยๆทยอยกันมาทีละคน2คนเมื่อเข้ามาถึงอาจารย์ก็ขอตัวไปประชุม ก่อนที่อาจารย์จะไปอาจารย์ได้พูดเกี่ยวเกี่ยวกับเรื่องการที่จะพาพวกเราไปสัตหีบวันที่ 17- 18ส.ค. และอาจารย์ก็ลงไปประชุม หายไปซักพักอาจารย์ อาจารย์ก็ขึ้นมาสั่งงานให้เราทำเกมการศึกษาลงในบล๊อกก่อน แล้วอาจารย์จะเข้ามาดูว่าผ่านหรือไม่ อาจารย์จะเข้ามาดูวันเสาร์ แล้วอาจารย์ก็ปล่อย
เกมต่อภาพเหมือนโดมิโน่
จุดมุ่งหมาย
- เกมนี้จะทำให้เด็กรู้จักสังเกตและได้ใช้สมอง
- ทำให้เด็กรู้จักการเปรียบเทียบ
- ฝึกไหวพริบ
- นำฟิวส์เจอร์บอร์ดมาตัดเป็นสี่เหลี่ยมแล้ววาดภาพ แล้วนำกาวมาติดภาพลงในฟิวเจอร์บอร์ด
ครั้งที่6 07/22/2010
เกมการศึกษา
ความสำคัญ
- ทำให้ที่เป็นสิ่งนามธรรมให้เป็นรูปธรรม
- ได้รับประสบการณ์ตรงจำได้นาน
- รวดเร็ว,เพลิดเพลิน,เข้าใจง่าย
ลักษณะของสื่อที่ดี
- ต้องมีความปลอดภัย
- ประโยชน์ที่เด็กได้รับเหมาะสมกับความสามารถของเด็กความสนใจ
- ประหยัด
- ประสิทธิภาพ
- คุณภาพดี
- เด็กเข้าใจง่าย
- เลือกให้เหมาะสมกับสภาพของศูนย์
- เหมาะสมกับวัย
- เหมาะสมกับเวลาที่ใช้
- เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรม
- ถูกต้องตามเนื้อหา,ทันสมัย
- เด็กได้คิดเป็นทำเป็นกล้าแสดงออก
การประเมินใช้สื่อ
- สื่อทำให้เด็กเกิดความรู้เพียงใด
- เด็กชอบสื่อนั้นเพียงใด
- สื่อช่วยสอนให้ตรงจุดประสงค์
หุ่นไม้ไอศกรีม
- ระบายสีที่รูปภาพ
- ตัดรูปที่ระบายสีแล้วติดลงกระดาษแข็ง
- ตัดกระดาษแข็งให้เรียบร้อย
- ติดตัวตุ๊กตาที่ไม้ไอศกรีม
- เสร็จสมบูรณ์
การบ้าน
- ดูเกมส์การศึกษาว่ามีเกมส์อะไรบ้างมีความหมายว่าอะไร
คัดลอกจาก นางสาว กัญภร เทียบเมือง
ครั้งที่5 07/15/2010
วันนี้ได้ออกไปนำเสนอสื่อเกี่ยวกับตัวต่อเหมาะสำหรับเด็กอายุ3ปีขึ้นไป จุดประสงค์หลักคือ การใช้ประสาทสัมพันธ์ระหว่างกล้ามเนื้อมือและตา และเสริมสร้างจินตนาการรู้จักการวางแผน การแก้ปัญหาทำให้เด็กมีเสรีภาพทางความคิดรู้จักการแบ่งปันในสังคม
วันอาทิตย์ที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ครั้งที่4 07/08/2010
การแบ่งประเภทสื่อ
ประกอบด้วย
1.ประสบการณ์ตรง
เป็นรูปธรรมมากที่สุดโดยทำการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์โดยตรงจากของจริงสถานการณ์จริง
2.ประสบการณ์รอง
เป็นการเรียนรู้จากสิ่งที่ใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุดซึ่งอาจเป็นของจำลอง
3.ประสบการนาฎการหรือการแสดง
เป็นการแสดงบทบาทสมมติหรือการแสดงละครเพื่อเป็นการจัดประสบการณ์แก่ผู้เรียนในเรื่องที่มีข้อจำกัด
4.การสาธิต
เป็นการแสดงหรือกระทำประกอบการอธิบายเพื่อให้เห็นลำดับขั้นตอนของการกระทำ
5.การศึกษานอกสถานที่
เป็นการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ต่างๆภายนอกสถานที่อาจเป็นการท่องเที่ยว เป็นต้น
6.นิทรรศการ
เป็นการจัดแสดงสิ่งของต่างๆเพื่อให้สาระปรระโยชน์และความรู้แก่ผู้ชม
7.โทรทัศน์
โดยใช้โทรทัศน์ทางการศึกษาและโทรทัศน์เพื่อการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดความรู้แก่ผู้เรียน
8.ภาพยนตร์
บันทึกเรื่องราวบนแผ่นฟิล์มเพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ทั้งภาพและเสียงโดยใช้ประสาทตาและหู
9.การบันทึกเสียง
เป็นได้ทั้งรูปแบบแผ่นเสียงหรือเทป วิทยุเป็นสื่อที่ให้เฉพาะเสียง
10.ทัศนสัญลักษณ์
แผนที่ สถิติหรือเป็นเครื่องหมายต่างๆซึ่งเป็นสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์
11.วจนสัญลักษณ์
เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นนามธรรมมากที่สุด
สรุปหลักในการเลือกสื่อ
1เลือกสื่อการสอนที่ทรอดคล้องกับวัติถุประสงค์
2เลือกสื่อการสอนตรงกับลักษณะของเนื้อหาของบทเรียน
3เลือกสื่อการสอนที่ให้เหมาะสมกับลักษระของผู้เรียน
4เลือกสื่อการการสอนให้เหมาะสมกับจำนวนของผู้เรียนและกิจกรรมการเรียน
5เลือกสื่อการสอนให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
6เลือกสื่อการสอนมีลักษณะน่าสนใจและดึงดูดความสนใจ
7เลือกสื่อการสอนวิธีการใช้งาน เก็บรักษา และบำรุงรักษาได้สะดวก
วันอาทิตย์ที่ 4 กรกฎาคม พ.ศ. 2553
ครั้งที่ 3 07/01/2010
อาจารย์ได้พูดถึงสื่อการเรียนการสอน สื่อคือการติดต่อให้ถึงกันชักนำให้รู้จักกันสื่อเป็นพาหะนำสารหรือความรู้ไปยังผู้เรียนเพื่อให้เกิดความรู้เช่น วิดีทัศน์ เป็นสื่อการสอนที่ทำให้เข้าใจง่ายขึ้นช่วยทำให้อยากค้นคว้า
วันพุธที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2553
ทฤษฎีของฟรอยด์
ฟรอยด์ (Freud, 1856-1939) เป็นชาวออสเตรีย เป็นคนแรกที่เห็นความสำคัญของพัฒนาการในวัยเด็ก ถือว่าเป็นรากฐานของ พัฒนาการของบุคลิกภาพ ตอนวัยผู้ใหญ่ สนับสนุนคำกล่าวของนักกวี Wordsworth ที่ว่า "The child is father of the man” และมีความเชื่อว่า 5 ปีแรกของชีวิตมีความสำคัญมาก เป็นระยะวิกฤติของพัฒนาการ ของชีวิตบุคลิกภาพของผู้ใหญ่ มักจะเป็นผลรวมของ 5 ปีแรก ฟรอยด์เชื่อว่า บุคลิกภาพของผู้ใหญ่ ที่แตกต่างกัน ก็เนื่องจากประสบการณ์ของแต่ละคน เมื่อเวลาอยู่ในวัยเด็ก และขึ้นอยู่กับว่าเด็กแต่ละคน แก้ปัญหาของความขัดแย้งของแต่ละวัยอย่างไร ทฤษฎีของฟรอยด์มีอิทธิพลทางการ รักษาคนไข้โรคจิต วิธีการนี้เรียกว่า จิตวิเคราะห์ (Psychoanalysis) โดยให้คนไข้ระบายปัญหาให้จิตแพทย์ฟัง
ทฤษฎีของฟรอยด์อาจจะกล่าวหลักโดยย่อดังต่อไปนี้
ฟรอยด์ได้แบ่งจิตของมนุษย์ออกเป็น 3 ระดับ คือ
1.จิตสำนึก (Conscious)
2.จิตก่อนสำนึก (Pre-conscious)
3.จิตไร้สำนึก (Unconscious)
เนื่องจากระดับจิตสำนึก เป็นระดับที่ผู้แสดงพฤติกรรมทราบ และรู้ตัว ส่วนเนื้อหาของระดับ จิตก่อนสำนึก เป็นสิ่งที่จะดึงขึ้นมา อยู่ในระดับจิตสำนึก ได้ง่าย ถ้าหากมีความจำเป็นหรือต้องการ ระดับจิตไร้สำนึกเป็นระดับที่อยู่ในส่วนลึกภายในจิตใจ จะดึงขึ้นมาถึงระดับจิตสำนึกได้ยาก แต่สิ่งที่อยู่ในระดับไร้สำนึก ก็มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม ฟรอยด์เป็นคนแรก ที่ได้ให้ความคิดเกี่ยวกับแรงผลักดันไร้สำนึก (Unconscious drive) หรือแรงจูงใจไร้สำนึก (Unconscious motivation) ว่าเป็นสาเหตุสำคัญของพฤติกรรม และมีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพของมนุษย์
ฟรอยด์กล่าวว่า มนุษย์เรามีสัญชาติญาณติดตัวมาแต่กำเนิด และได้แบ่งสัญชาติญาณออกเป็น 2 ชนิดคือ
1) สัญชาติญาณเพื่อการดำรงชีวิต (Life instinct)
2) สัญชาติญาณเพื่อความตาย (Death instinct)
สัญชาตญาณบางอย่าง จะถูกเก็บกดไว้ในจิตไร้สำนึก ฟรอยด์ได้อธิบายเกี่ยวกับสัญชาตญาณ เพื่อการดำรงชีวิตไว้อย่างละเอียด ได้ตั้งสมมติฐานว่า มนุษย์เรามีพลังงานอยู่ในตัวตั้งแต่เกิด เรียกพลังงานนี้ว่า "Libido” เป็นพลังงานที่ทำให้คนเราอยากมีชีวิตอยู่ อยากสร้างสรรค์ และอยากจะมีความรัก มีแรงขับทางด้านเพศ หรือกามารมณ์ (Sex) เพื่อจุดเป้าหมาย คือความสุขและความพึงพอใจ (Pleasure) โดยมีส่วนต่างๆ ของร่างกายที่ไวต่อความรู้สึก และได้เรียกส่วนนี้ว่า อีโรจีเนียสโซน (Erogenous Zones) แบ่งออกเป็นส่วนต่างดังนี้
- ส่วนปาก ช่องปาก (Oral)
- ส่วนทางทวารหนัก (Anal)
- และส่วนทางอวัยวะสืบพันธุ์ (Genital Organ)
ฉะนั้น ฟรอยด์กล่าวว่าความพึงพอใจในส่วนต่างๆ ของร่างกายนี้ เป็นไปตามวัย เริ่มตั้งแต่วัยทารก จนถึงวัยผู้ใหญ่ ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ขั้น คือ
1. ขั้นปาก (Oral Stage)
2. ขั้นทวารหนัก (Anal Stage)
3. ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic Stage)
4. ขั้นแฝง (Latence Stage)
5. ขั้นสนใจเพศตรงข้าม (Genital Stage)
ทฤษฎีของฟรอยด์อาจจะกล่าวหลักโดยย่อดังต่อไปนี้
ฟรอยด์ได้แบ่งจิตของมนุษย์ออกเป็น 3 ระดับ คือ
1.จิตสำนึก (Conscious)
2.จิตก่อนสำนึก (Pre-conscious)
3.จิตไร้สำนึก (Unconscious)
เนื่องจากระดับจิตสำนึก เป็นระดับที่ผู้แสดงพฤติกรรมทราบ และรู้ตัว ส่วนเนื้อหาของระดับ จิตก่อนสำนึก เป็นสิ่งที่จะดึงขึ้นมา อยู่ในระดับจิตสำนึก ได้ง่าย ถ้าหากมีความจำเป็นหรือต้องการ ระดับจิตไร้สำนึกเป็นระดับที่อยู่ในส่วนลึกภายในจิตใจ จะดึงขึ้นมาถึงระดับจิตสำนึกได้ยาก แต่สิ่งที่อยู่ในระดับไร้สำนึก ก็มีอิทธิพลต่อพฤติกรรม ฟรอยด์เป็นคนแรก ที่ได้ให้ความคิดเกี่ยวกับแรงผลักดันไร้สำนึก (Unconscious drive) หรือแรงจูงใจไร้สำนึก (Unconscious motivation) ว่าเป็นสาเหตุสำคัญของพฤติกรรม และมีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพของมนุษย์
ฟรอยด์กล่าวว่า มนุษย์เรามีสัญชาติญาณติดตัวมาแต่กำเนิด และได้แบ่งสัญชาติญาณออกเป็น 2 ชนิดคือ
1) สัญชาติญาณเพื่อการดำรงชีวิต (Life instinct)
2) สัญชาติญาณเพื่อความตาย (Death instinct)
สัญชาตญาณบางอย่าง จะถูกเก็บกดไว้ในจิตไร้สำนึก ฟรอยด์ได้อธิบายเกี่ยวกับสัญชาตญาณ เพื่อการดำรงชีวิตไว้อย่างละเอียด ได้ตั้งสมมติฐานว่า มนุษย์เรามีพลังงานอยู่ในตัวตั้งแต่เกิด เรียกพลังงานนี้ว่า "Libido” เป็นพลังงานที่ทำให้คนเราอยากมีชีวิตอยู่ อยากสร้างสรรค์ และอยากจะมีความรัก มีแรงขับทางด้านเพศ หรือกามารมณ์ (Sex) เพื่อจุดเป้าหมาย คือความสุขและความพึงพอใจ (Pleasure) โดยมีส่วนต่างๆ ของร่างกายที่ไวต่อความรู้สึก และได้เรียกส่วนนี้ว่า อีโรจีเนียสโซน (Erogenous Zones) แบ่งออกเป็นส่วนต่างดังนี้
- ส่วนปาก ช่องปาก (Oral)
- ส่วนทางทวารหนัก (Anal)
- และส่วนทางอวัยวะสืบพันธุ์ (Genital Organ)
ฉะนั้น ฟรอยด์กล่าวว่าความพึงพอใจในส่วนต่างๆ ของร่างกายนี้ เป็นไปตามวัย เริ่มตั้งแต่วัยทารก จนถึงวัยผู้ใหญ่ ซึ่งแบ่งออกเป็น 5 ขั้น คือ
1. ขั้นปาก (Oral Stage)
2. ขั้นทวารหนัก (Anal Stage)
3. ขั้นอวัยวะเพศ (Phallic Stage)
4. ขั้นแฝง (Latence Stage)
5. ขั้นสนใจเพศตรงข้าม (Genital Stage)
ครั้งที่2 06/24/2010
อาจารย์ได้พูดถึงวิธีเรียนและการทำบล็อกสะสมงานและอาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ5คนและอารย์ได้ตั้งคำถามเกี่ยวกับเด็กปฐมวัยและให้แบ่งหน้าที่กันในกลุ่มและพรีเซนต์และอาจารย์ได้สั่งงานให้หาทฤษฏีเกี่ยวกับเด็กปฐมวัยอ่านและนำไปโพสต์ในบล็อก
ครั้งที่1 06/17/2010
อาจารย์ได้สั่งงานให้ทำประวัติส่วนตัวเกี่ยวกับเรื่องระเบียบการแต่งกายและระเบียบการเข้าห้องเรียนและอาจารย์ได้ตรวจเครื่องแบบและอาจารย์สั่งให้ทำบล็อกแทนการใช้แฟ้มเพื่อลดโลกร้อน
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)