การแบ่งประเภทสื่อ
ประกอบด้วย
1.ประสบการณ์ตรง
เป็นรูปธรรมมากที่สุดโดยทำการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์โดยตรงจากของจริงสถานการณ์จริง
2.ประสบการณ์รอง
เป็นการเรียนรู้จากสิ่งที่ใกล้เคียงความเป็นจริงมากที่สุดซึ่งอาจเป็นของจำลอง
3.ประสบการนาฎการหรือการแสดง
เป็นการแสดงบทบาทสมมติหรือการแสดงละครเพื่อเป็นการจัดประสบการณ์แก่ผู้เรียนในเรื่องที่มีข้อจำกัด
4.การสาธิต
เป็นการแสดงหรือกระทำประกอบการอธิบายเพื่อให้เห็นลำดับขั้นตอนของการกระทำ
5.การศึกษานอกสถานที่
เป็นการให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ต่างๆภายนอกสถานที่อาจเป็นการท่องเที่ยว เป็นต้น
6.นิทรรศการ
เป็นการจัดแสดงสิ่งของต่างๆเพื่อให้สาระปรระโยชน์และความรู้แก่ผู้ชม
7.โทรทัศน์
โดยใช้โทรทัศน์ทางการศึกษาและโทรทัศน์เพื่อการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดความรู้แก่ผู้เรียน
8.ภาพยนตร์
บันทึกเรื่องราวบนแผ่นฟิล์มเพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ทั้งภาพและเสียงโดยใช้ประสาทตาและหู
9.การบันทึกเสียง
เป็นได้ทั้งรูปแบบแผ่นเสียงหรือเทป วิทยุเป็นสื่อที่ให้เฉพาะเสียง
10.ทัศนสัญลักษณ์
แผนที่ สถิติหรือเป็นเครื่องหมายต่างๆซึ่งเป็นสิ่งที่เป็นสัญลักษณ์
11.วจนสัญลักษณ์
เป็นประสบการณ์ขั้นที่เป็นนามธรรมมากที่สุด
สรุปหลักในการเลือกสื่อ
1เลือกสื่อการสอนที่ทรอดคล้องกับวัติถุประสงค์
2เลือกสื่อการสอนตรงกับลักษณะของเนื้อหาของบทเรียน
3เลือกสื่อการสอนที่ให้เหมาะสมกับลักษระของผู้เรียน
4เลือกสื่อการการสอนให้เหมาะสมกับจำนวนของผู้เรียนและกิจกรรมการเรียน
5เลือกสื่อการสอนให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
6เลือกสื่อการสอนมีลักษณะน่าสนใจและดึงดูดความสนใจ
7เลือกสื่อการสอนวิธีการใช้งาน เก็บรักษา และบำรุงรักษาได้สะดวก
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น